EAED3207 Science Experiences Management for Early Childhood
วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559
สรุปบทความ
เรื่อง : วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กฐมวัย (Science for Early Childhood)
ผู้เขียน : บุญไทย แสนอุบล
การเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยไม่ใช่หมายถึงสาระทางเคมี ชีววิทยา แต่เด็กปฐมวัยนั้นจะเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวและธรรมชาติเป็นหลักสำคัญ ซึ่งดร. ดินา สตาเคิล ได้แบ่งสาระทางวิทยาสาตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้ 4 หน่วยดังนี้
หน่วยที่ 1 การสังเกตโลกรอบตัว
หน่วยที่ 2 การรับรู็ทางประสาทสัมผัสและการรับรู้
หน่วยที่ 3 รู้ทรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
หน่วยที่ 4 การจัดหมู่และการแยกประเภท
ในการเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์ทั้ง 4 เด็กจะต้องใช้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
3. การสื่อความหมาย
4. ทักษะการลงความเห็น
ทักษะพื้นฐานและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นที่ 1 กำหนดขอบเขตของปัญหา
ขั้นที่ 2 ตั้งสมมุติฐาน
ขั้นที่ 3 ทดลองและเก็บข้อมูล
ขั้นที่ 4 วิเคราะข้อมูล
ขั้นที่ 5 สรุปผลคำตอบสมมุติฐาน
Cr. วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย
สรุป วิจัย
ชื่อวิจัย (ภาษาไทย) : ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ชื่อวิจัย (ภาษาอังกฤษ) : The Effect of natural color learning activites on young children scientific basic skills
จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เมื่อ มีนาคม พศฬ2555 โดย ยุพาภรณ์ ชูสาย
จุดมุ่งหมายในการวิจัย : 1. เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย : เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ทั้งหมด 6 ห้องเรียน จำนวน 180 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย : เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ โดยมีขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่างดังนี้
1. เลือกกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนทั้งหมด 6 ห้องเรียน โดยวิธีการจับฉลากมา 1 ห้องเรียน ได้นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/1 จำนวน 30 คน
2. จากกลุ่มตัวอย่างในข้อ 1 สุ่มอย่างง่ายอีกครั้งด้วยการจับฉลากเพื่อกำหนดเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 15 คน
ระยะเวลาในการทดลอง : การทดลองในครั้งนี้ ทำการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ใช้เวลาการทดลองเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 40 นาที ในช่วงเวลา 9:00-9:40 น. โดยใช้การทดลองในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์ รวมเวลาที่ใช้ในการทดลองทั้งสิ้น จำนวน 24 ครั้ง
การสร้างเครื่องมือและลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย :
1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
2. แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างแผนการวิจัย
1 |
แบบทดสอบ
แบบทดสอบ 2
วันศุกร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 17
วัน อังคาร ที่ 29 พฤศจิกายน พศ.2559
(เวลา 08:30-12:30 น.)
เนื้อหาที่เรียน
ในวันนี้เป็นวันสอนชดเชย อาจารย์จึงให้อีก 3 กลุ่มนำเสนอการสอนที่ยังไม่ได้สอน ดังนั้นจึงมีกลุ่มดังนี้
กลุ่ม อากาศ
เพลง ลมพัด
กลุ่มดอกไม้
การแปรรูป
กลุ่มยานพาหนะ
ปัจจัยการเคลื่อนที่
คำศัพท์
Factor
Move
Vehicle
Flower
Compensate
การประเมิน
ประเมินตัวเอง มีการจดบันทึก ช่วยไปเป็นนักเรียนให้กับเพื่อน
ประเมินบรรยากาศในห้องเรียน สนุกมากและได้ความรู้มากขึ้นได้ประสบการณ์
ประเมินผู้สอน ให้คำแนะนำตลอดเวลา
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16
วัน อังคาร ที่ 15 พฤศจิกายน พศ.2559
(เวลา 08:30-12:30 น.)
เนื้อหาที่เรียน
ในวันนี้อาจารย์พูดคุยถึงวิจัยในบล็อก และการทำบล็อก
พร้อมทั้งบอกถึงแนวข้อสอบและนัดวันเวลาที่จะสอบปลายภาค
จากนั้นมีการทบทวนบทเรียนและของเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
ทบทวนกรอบมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์
คำศัพท์
Blogger
Standard
Review
Row
Test
การประเมิน
ประเมินตัวเอง มีการจดบันทึก
ประเมินบรรยากาศในห้องเรียน เรียบๆง่ายๆสบายๆ มีการตอบคำถาม
ประเมินผู้สอน เป็นกันเอง สอนเก่งให้ความรู้ได้เต็มที่
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15
วัน อังคาร ที่ 15 พฤศจิกายน พศ.2559
(เวลา 08:30-12:30 น.)
เนื้อหาที่เรียน
ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาสอนตามหน่วยของตัวเองและตามวันต่างๆ
วันจันทร์ กลุ่มผลไม้
การแยกผลไม้
วันอังคาร กลุ่มไข่
ลักษณะของไข่ ต่อจิ๊กซอว์รูปไข่
วันพุธ กลุ่มต้นไม้
ปัจจัยของต้นไม้ ปลูกถั่วงอก
วันพฤหัสบดี กลุ่มปลา
ประโยชน์ของปลา ปลาชุบปลาทอด
แผนการสอนของวันพฤหัสบดี
ขั้นนำ
1. อ่านคำคล้องจองประโยชน์ของปลา
" ประโยชน์ของปลามีหลากหลาย มากมายทางคุณค่า
มีทั้งโอเมก้า 3 โปรตีนสูง หนูหนูมากินปลากันเถอะ"
2. จากนั้นก็ถามประโยชน์ของปลาในคำคล้องจอง พูดคุย จดบันทึก
ขั้งสอน
3. พูดคุยถึงเมนูปลาที่เด็กๆรู้จัก
4. แนะนำอุปกรณ์
5. ครูสาธิตการทำปลาชุบแป้งทอด
6 ครูแบ่งเด็กเป็นกลุ่มเพื่อเข้าฐาน มีทั้งหมด 5 ฐาน
ฐานที่ 1 การวาดรูปอุปกรณ์การทำปลาชุบแป้งทอด
ฐานที่ 2 ตัดกระดาษซับน้ำมันเป็นวงลกม
ฐานที่ 3 หั่นปลาออกเป็น 2 ชิ้น
ฐานที่ 4 นำปลาไปคลุกแป้ง
ฐานที่ 5 นำปลาที่คลุกแป้งแล้วไปใส่ในถาดใบใหญ่เพื่อจะเตรียมทอด
7. ระหว่างที่ทอดปลาครูพูดคุยกับเด็กเพื่อเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์
ขั้นสรุป
8. ครูสรุปถึงประโยชน์ของปลา
คำศัพท์
Facial tissue
Equipment
Flour
Bean sprouts
Take a note
การประเมิน
ประเมินตัวเอง ในวันนี้ดิฉันเป็นผู้สอนทำปลาชุบแป้งทอด ตื่นเต้นมาก แต่ต้องขอบคุณอาจารย์และเพื่อนๆที่ให้กำลังใจให้คำปรึกษาที่ดีมากๆ
ประเมินบรรยากาศในห้องเรียน เพื่อนเป็นเด็กนักเรียนที่น่ารักมาก เพื่อนให้กลุ่มช่วยกันตลอด
ประเมินผู้สอน อาจารย์ให้คำปรึกษาที่ดี ช่วยเหลือนักศึกษาในทางที่ถูกที่ควร
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14
วัน อังคาร ที่ 8 พฤศจิกายน พศ.2559
(เวลา 08:30-12:30 น.)
เนื้อหาที่เรียน
ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาคิดแผนการสอนและคิดถึง6 กิจกรรมหลักว่าจะสอนเด็กในหน่วยต่างๆอย่างไร
เช่น
กิจกรรมสร้างสรรค์
- วันจันทร์ สอน หลอดเลี้ยงลูกบอลรูปปลา
- วันอังคาร สอน สานปลา
- วันพุธ สอนออกแบบตู้ปลาจากขวดพลาสติก
- วันพฤหัสบดี สอน กรอบรูป
- วันศุกร์ สอน เป่าสีบนรูปปลา
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- วันจันทร์ สอน ประเภทของปลา กิจกรรมแยกประเภท มาตรฐานที่ 2
- วันอังคาร สอน ลักษณะของปลา กิจกรรมจิ๊กซอว์ มาตรฐานที่ 1,3
- วันพุธ สอน ปัจจัยการดำรงชีวิตของปลา กิจกรรมเรียงลำดับภาพ มาตรฐานที่ 1,2
- วันพฤหัสบดี สอน ประโยชน์ของปลา กิจกรรมจับคู่ มาตรฐานที่ 1,3
-วันศุกร์ สอน ข้อควรระวัง กิจกรรมนิทาน มาตรฐานที่ 1,3
จากนั้นอาจารย์ให้จับฉลากว่ากลุ่มใดจะสอนวันไหนบ้างและจะสอนอะไร
กลุ่มต้นไม้ได้สอนวันพุธ เป็นการปลูกถั่วงอก
กลุ่มดอกไม้ สอนการแปรรูปดอกไม้
กลุ่มยานพาหนะ สอนการแยกประเภท
กลุ่มปลา สอนการทำปลาชุบแป้งทอด
กลุ่มอากาศ สอนการดูแลตัวเอง
กลุ่มไข่ สอนลักษณะของไข่
กลุ่มผลไม้ สอน ชนิด
เมื่อได้วันและสิ่งที่จะสออนแล้ว อาจารย์ให้นักศึกษาคิดดูว่าจะต้องเตรียมอะไรบ้างขาดเหลืออะไร
คำศัพท์
Egg
Transfigure
Type
Look after
Weather
การประเมิน
ประเมินตัวเอง มีการจดบันทึก มาตรงเวลา มีการร่วมตอบคำถาม
ประเมินบรรยากาศในห้องเรียน แอร์เย็นมาก เพื่อนๆมาเรียนครบตรงต่อเวลา
ประเมินผู้สอน เป็นกันเอง เฮฮา พานักศึกษาสนุกไม่เครียดเกินไป
วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
วัน อังคาร ที่ 1 พฤศจิกายน พศ.2559
( เวลา 08:30 -12:30 น.)
เนื้อหาที่เรียน
1. มีการให้ดูวีดีโอการทำของเล่นแต่ละกลุ่มที่ลงยูทูป ซึ่งอาจารย์จะแนะนำของแต่ละวีดีโอ
- หลอดมหัศจรรย์
- คานดีดจากไม้ไอศกรีม
- ขวดน้ำส่งของ
- รถพลังลม
2. พูดถึงการออกแบบกิจกรรม
- พัฒนา 4 ด้าน
ขอบข่ายด้านร่างกาย :-เคลื่อนไหวร่างกาย << เกิดจากการกระทำของกล้ามเนื้อกับอวัยวะ
-สุขอนามัย
- เจริญเติบโต
ขอบข่ายด้านอารมณ์ : - การแสดงออกทางความรู้สึก และ ยอมรับความรู้สึกของผู้อื่น
ขอบข่ายด้านสังคม : การอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ขอบข่ายด้านสติปัญญา : ภาษาและความคิด
คิดแบบเชิงเหตุผลและคิดสร้างสรรค์
3. อาจารย์ให้เข้าร่วมกลุ่มหน่วยของตัวเอง เพื่อทำงานต่อ
คำศัพท์
Development
Scope
Muscle
Grow up
Create
ประเมินบรรยากาศในห้องเรียน : เพื่อนๆมีการร่วมตอบคำถามต่างๆ แสดงความคิดเห็น
ประเมินผู้สอน : เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมต่างๆ
Scope
Muscle
Grow up
Create
การนำไปประยุกต์ใช้
- การสอนเด็กทำของเล่นโดยใช้สื่อที่หลากหลายการประเมิน
ประเมินตัวเอง : มีการจดบันทึก ร่วมตอบคำถามประเมินบรรยากาศในห้องเรียน : เพื่อนๆมีการร่วมตอบคำถามต่างๆ แสดงความคิดเห็น
ประเมินผู้สอน : เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมต่างๆ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)